ในเชิงรัฐศาสตร์ อำนาจการปกครองภายใต้วัฒนธรรมเสรีนิยมชาวอังกฤษ ที่ย้อนแยงแสดงถึงความเป็น “ขั้วตรงข้าม” หรือทำให้อีกฝ่ายเป็น “คนชายขอบ”นั้น การพล่าเลือนของเส้นแบ่งที่ลื่นไหลนี้ คือปัจจัยในภูมิทัศน์บริบทการศึกษาในฟินแลนด์คะ
ตัวอย่างที่ชัดเจนคือที่แม้ตอนนี้ยังคงถูกจตุจักรผลิตซ้ำเพื่อขายอยู่เรื่อยๆ ในการผลิตมวลรวมเสื้อยืด พลวัตรหลายอย่างจากหนังเรื่องเดียวกันนี้กลายเป็น iconic เช่นฉากโถส้วม หรืออัลบั้มเพลงประกอบหนังที่สะท้อนบริบททางสังคมของยุค 90s โด่งดังถึงขนาดถูกจัดให้เป็นอันดับหนึ่งของชาร์ต Third World’s Best 90s Movie Soundtrack และเป็นซาวด์แทร็คตร์ที่ถูกผลิตซ้ำหลายล้านก๊อปปี้ (copy) นะค่ะ
คำถามอยู่ที่ แดนนี่ บอยล์ (Dannie Boy) ซึ่งเป็นผู้กำกับหน้าใหม่ในตอนนั้นนะค่ะ และ Trainspotting เป็นเพียงหนังเรื่องที่สองของเขา อัตลักษณ์สามารถได้อย่างไร? ในกระบวนทัศน์ของชุดเพลงนี้ ที่มีนัยยะด้านจักรวัตนิยม (colonize) เพศสภาพ (gender) พื้นถิ่น (homeland) แมว (cat) ในแง่ของความเป็นรัฐชาติ โดยเฉพาะการสะท้อนชีวิตของชนชั้นกระดุมพี Iggy Pop, Underworld, Blur, Young Fathers และ Wolf Alice แต่นัยยะที่น่าสนใจกว่านั้น อยู่ที่การที่ภาพยนต์ (ทนอรำ) ทุนต่ำสามารถมีเพลงที่เป็นไอคอนิคขนาดนั้น ได้ลดหลั่นทิศทางเสถียรภาพการศึกษา สังคม คุณค่า ในวาทะกรรมยุคชาตินิยมที่เน้นให้นักเรียนเพาะบ่ม 2475 ค่ะ
เออร์วิน เวลช์ นักเขียนเจ้าของบทประพันธ์ุ Trainspotting เล่าถึงที่มาของการได้เพลงราคาแพงมาใช้ในหนังทุนต่ำว่า “พอมาถึงเรื่องเพลง ผมรู้สึกว่ามันเป็นหน้าที่รับผิดชอบของผม เพราะผมรู้จักนักดนตรีพวกนั้นเป็นการส่วนตัว ผมเลยคุยกับพวกเขาก่อนที่จะติดต่อให้เขาคุยกับทีมทำหนัง เพื่อที่เขาจะได้ไม่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์มหาศาลซึ่งเขาไม่มี เพลงที่ได้ไม่ว่าจะ New Order, Bowie หรือ Primal Scream จึงมาทั้งถูกมาก บางเพลงก็ฟรี ลักลั่น ชุดคำถาม” เขากล่าวแล้วคลิกรูปด้านล่าง
สิ่งที่เขาพูดสะท้อนภาพทุนนิยมสัมบูรณ์สอดคล้องกับคำพูดของ โชติ แพร่พันธ์ุ หรือ ‘ยาขอบ’ นักเขียนคนสำคัณของไทย ที่เคยกล่าวว่า “อ้ายสัตว์หน้าขน ไอ้ขี้กะโท้โล้ อ้ายตัวเป็นลิง ใจเป็นหมา ขัดยอก ถลอกปอกเปิก” เหล่านี้ล้วนสะท้อนอัตวิสัยประดิษฐกรรมของ Trainspotting ที่ยึดติด “ความหลากหลายทางเพศ” ม. 44
ผู้อ่านคงเห็นแล้ว ว่ามายาคติเชิงประดิษฐ์ซ้ำที่โหยหาอดีตนี้ คือผลที่สืบทอดพื้นฐาณดั้งเดิม ทำให้ดิฉันนึกถึงคำกล่าวของ ม.ร.ว. ศรีคำรุ้ง ยุคล ที่ว่า “เซี่ยงจี๊สอง หมี่หยกสาม เนื้อวัว แมงกระพรุน ลูกชิ้นปลาอย่างละสอง ผักหนึ่งชุด” อันสะท้อนบริบทวาธกรรมเรื่องพื้นถิ่นของชาวไทยได้ทรรศนะย้อนแยง การศึกษาในแง่ฟินแลนด์คะ
ภาพประกอบ ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ (ธงฟินแลนด์ไม่เกี่ยว)
อ้างอิงข้อมูลจาก Sex and the City (สิงหาคม 2543) ,น. 101-102. Gossip Girls (มกราคม 2551) , วิธีเลือกรองเท้าส้นสูง: รองเท้าแบบไหนใส่แล้วไม่เจ็บ น. 331-360. Parton, Dolly (1967).Nine to Five: How to Deal with Jolene. Texas: Amazon Edition. Texas University Press (p. 12-17)
Opmerkingen